เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา2/2557 Topic:"ผจญภัยไปกับการทดลองอาหาร"
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
เข้าใจและเห็นความสำศัญของอาหาร อธิบายเกี่ยวกับประโยชน์และโทษจากการรับประทานอาหารรวมทั้งการเลือกบริโภคอย่างเหมาะสมตามความจำเป็นของร่างกาย

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)







Big Questions : นักเรียนจะมีวิธีการเลือกบริโภคอย่างไรให้ปลอดภัยและพอเหมาะต่อความต้องการของร่างกาย
ภูมิหลังของปัญหา
           ด้วยสภาพสังคมและวิถีการบริโภคได้เปลี่ยนแปลงไปผู้คนเพิ่มมากขึ้นความต้องการในการเข้าถึงอาหารมีมากขึ้น  อุตสาหกรรมอาหารป้อนอาหารเข้าสู่ชุมชนทุกคนเข้าถึงแหล่งอาหารความเข้าใจและเข้าไม่ถึงความจริงที่ซ่อนในอาหารที่รับประทานที่อาจส่งผลกระทบต่อร่างกายในระยะยาว  การเรียนรู้และการพิสูจน์ความจริงเบื้องต้นนี้จึงใช้เป็นทักษะพื้นฐานและสามารถตรวจสอบเบื้องต้นอย่างรู้เท่าทันในการเลือกบริโภคอย่างปลอดภัยและพอเหมาะต่อความต้องการของร่างกาย


ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ Problem Based Learning  (PBL)
Topic : อาหารขยะ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
Week
Input
Process
Output
Outcome
1
โจทย์  สร้างแรงบันดาลใจ
คำถาม
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter  นี้   เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share แสดงความคิดร่วมกันเกี่ยวกับภัยจากการกิน
 - Brainstorms แลกเปลี่ยนสิ่งที่เห็น และความรู้สึกของตนเอง
 - Mind Mapping สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานขั้นตอนการทดลอง
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มทำการทดสอบดังนี้
- ทำการทดสอบไขมันโดยวิธีการนำไอศครีมที่ทำเองและซื้อในท้องตลาดมาต้ม
- ทำการทดสอบฤทธิ์กัดกร่อนของน้ำอัดลมและน้ำส้มสายชูโดยวิธีการนำไข่ไปแช่ในน้ำอัดลมกับน้ำส้มสายชู
(ระยะยาว)
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์




















ชิ้นงาน
- ขั้นตอนการทดลอง
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ทดสอบไขมันไม่อิ่มตัวจากไอศครีม
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
- เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำมาใช้ในการวางแผนการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้
ทักษะการคิด
-  คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการจัดการข้อมูล
- มีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย
-สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
- มีความพอดี  พอใจในการดำรงตนในสังคม
2
โจทย์  วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
-นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับโครงงานใน Quarter  นี้
นักเรียนจะตั้งชื่อโครงงานนี้ว่าอะไร เพราะเหตุใดจึงใช้ชื่อนั้น
-นักเรียนจะทำแผนการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิภาคให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านนิทานสร้างสรรค์และน่าสนใจอย่างไร 
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้  
- Round  Robin แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการวางแผนทำปฎิทินการเรียนรู้
- Think Pair Share ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Blackboard Share สิ่งที่รู้แล้วและคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ปฎิทินการเรียนรู้,สิ่งที่รู้แล้ว  สิ่งที่อยากเรียนรู้
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน

เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
เขียนสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากรู้
ทำปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ชิ้นงาน
ตั้งชื่อชื่อหน่วยการเรียนรู้
สิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากรู้
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
วางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้
ความรู้
ออกแบบวางแผนการเรียนรู้และเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- ถ่ายทอดสิ่งที่ได้ดู และสามารถนำเสนอแลกเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองได้
- เห็นความสำคัญและความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงระหว่างสิ่งต่างๆ กับตัวเอง
- มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
- ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
- สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- คิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ชิ้นงานหัวข้อหน่วยการเรียนรู้ได้
-  สอบถามข้อมูลจากผู้รู้หรือผู้ปกครอง
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องโดยนักเรียนแสดงความสนใจและสนุกกับการเรียนรู้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-  ทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นในการเสนอสิ่งที่อยากเรียนรู้  หัวข้อหน่วยการเรียนรู้ที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
ทักษะการจัดการข้อมูล
- มีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย
-สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
-  สื่อสารอธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะ ICT
- อธิบายและรู้แหล่งที่มาของข้อมูลที่หลากหลาย
- เลือกใช้ และสืบค้นข้อมูลได้ตามวัตถุประสงค์
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
3
โจทย์    คุณสมบัติของน้ำอัดลม(การกัดกร่อน  ก๊าซ  การตกตะกอน )
คำถาม
นักเรียนคิดว่าในน้ำอัดลมมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
- เราจะทดสอบคุณสมบัติของน้ำอัดลมได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองน้ำอัดลม
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานนิทาน
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
- สำรวจตลาดสดลำปลายมาศเทียบกับอาหารในซุปเปอร์มาเก็ต
- ครูแบ่งกลุ่ม กลุ่มเพื่อทดสอบน้ำอัดลมดังนี้
- การทดสอบก๊าซในน้ำอัดลมโดยวิธีโดยวิธีการนำเนื้อไก่  หมู  ปลา มาแช่ในน้ำอัดลม
- การทดลองการระเหยของน้ำอัดลมโดยวิธีการต้ม(น้ำโค๊ก  น้ำชา  นม  น้ำหวานต่างๆ)
- การทดสอบการตกตะกอนของน้ำอัดลมโดยวิธีการเติมนมลงในน้ำอัดลม
- การทดสอบฤทธิ์กัดกร่อนของน้ำอัดลมโดยวิธีการนำตะปูที่ขึ้นสนิมใส่ลงในน้ำอัดลม
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองและส่วนประกอบของน้ำอัดลม
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้การทดสอบน้ำอัดลมในวิธีการต่างๆ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน
- พูดคุยสนทนาวิเคราะห์ผลการทดสอบน้ำอัดลมในวิธีการต่างๆ
 - ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
เข้าใจส่วนประกอบและคุณสมบัติของน้ำอัดลม(การกัดกร่อน  ก๊าซ  การตกตะกอน )
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  สร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
- มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
- ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
ทักษะการจัดการข้อมูล
- มีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย
-นำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
-แสดงความคิดเห็นและการนำเสนอผลงานจากเรื่องราวที่ศึกษาค้นคว้าและชิ้นงานที่ลงมือปฏิบัติ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
4
โจทย์     การทดลองแป้ง น้ำตาล  สี  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าน้ำตาลสังเคราะห์กับน้ำตาลธรรมชาติแตกต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับ
- ชักเย่อความคิด “นักเรียนคิดว่าร่างกายของเราต้องการน้ำตาลเพิ่มจากอาหารที่รับประทานแต่ละมื้อจริงหรือ”
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานนิทาน
สื่อ/อุปกรณ์

- คลิปวีดีโอเรื่องน้ำตาลที่คุณควรรู้

บรรยากาศในห้องเรียน

- ดูคลิปวีดีโอเรื่องน้ำตาลที่คุณควรรู้

- สนทนาแลกเปลี่ยนปริมาณน้ำตาลที่ร่างกายแต่ละวัน ที่มาของน้ำตาลจากอาหารที่เรารับประทานแต่ละมื้อ

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเพื่อทดสอบการทดลองแป้ง น้ำตาล  สี  ความเป็นกรด-เบสของอาหารโดยวิธีการทดสอบโดยใช้สารไอโอดีน
- ชักเย่อความคิดนักเรียนคิดว่าน้ำต่างสังเคราะห์ดีกว่าน้ำตาลธรรมชาติจริงหรือ
- ทดลองทำน้ำตาลจากธรรมชาติใช้เอง(อ้อย มะพร้าว)
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- นิทานช่องการทดลองแป้ง น้ำตาล  สี  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนพูดคุยทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้

ความรู้

- เข้าใจและอภิบายที่มาของน้ำตาลจากอาหารที่เรารับประทานแต่ละมื้อ

ทักษะ
ทักษะชีวิต:
- มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
- ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
- สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะ ICT
- อธิบายและรู้แหล่งที่มาของข้อมูลเกี่ยวกับน้ำตาลที่หลากหลาย
- เลือกใช้ และสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของน้ำตาลได้ตามวัตถุประสงค์
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
5
โจทย์   สารปนเปื้อนในอาหาร
- สานกันเชื้อรา
- สารบอแร็กช์
- สารฟอกขาว
- สารเร่งเนื้อแดง
คำถาม
เราจะรู้เบื้องต้นได้อย่างไรว่าอาหารที่เรารับประทานจะไม่มีสารปนเปื้อน
เครื่องมือคิด
- Brainstorms พูดคุยสนทนาวิเคราะห์เกี่ยวกับชาร์ตความรู้สารปนเปื้อนในอาหาร
- Show and Share  นำเสนอชาร์ตความรู้สารปนเปื้อนในอาหาร
สื่อ/อุปกรณ์

ดูคลิปวีดีโอสารฟอกขาวในถั่วงอก

- ดูคลิปวีดีโอความลับของผลไม้

บรรยากาศในห้องเรียน

ดูคลิปวีดีโอสารฟอกขาวในถั่วงอก

- ดูคลิปวีดีโอความลับของผลไม้

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มเพื่อทำการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารดังนี้

- ทดสอบสารกันเชื้อรา

- ทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารหมักดอง

- ทดสอบสารบอแร็กช์ในอาหารโดยวิธีการใช้ชุดสารเคมีตรวจสอบ

- ทดลองทำฝรั่งแช่บ๋วยเพื่อเปรียบเทียบกับในท้องตลาด
- ทอสอบสารเคลือบผลไม้โดยวิธีการนำผลไม้จากตลาดมาล้างกับผลไม้ที่ไม่ล้างมาวางไว้ในห้องแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้สารปนเปื้อนในอาหาร
สรุปสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- ทำฝรั่งแช่บ๋วย
- ทำมะขามดอง
 ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนพูดคุยทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
- เข้าใจและสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยให้กับตนเองและผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
- ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
- สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการแก้ปัญหา
- มีวิธีการในการค้นคว้าข้อมูลให้ตอบโจทย์กับสิ่งที่ต้องการศึกษาได้
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
6
โจทย์    คุณค่าอาหาร
คำถาม
- นักเรียนจะเลือกประกอบอาหาร ให้มีคุณค่าทางโภชนาการได้อย่างไร
เครื่องมือคิด

- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับพลังงานและปริมาณแคลอรี่ในอาหาร

- Show and Share นำเสนอ
สื่อ/อุปกรณ์
- คลิปวีดีโอภัยจากการกิน
บรรยากาศในห้องเรียน
ดูคลิปวีดีโอภัยจากการกิน
 - สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอภัยจากการกิน

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่ม เพื่อทดสอบการประกอบอาหารจากกล้วย( ทอด  ปิ้ง  ต้ม)

 - นักเรียนแต่ละกลุ่มนำกล้วยไปชั่งน้ำหนักและนำไปทดสอบโดยวิธการ

ทอด  ปิ้ง  ต้มและสังเกตการเปลี่ยนแปลง

- นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาพลังงานและปริมาณแคลอรี่ในอาหาร

- นักเรียนแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มเลือกขนมขบเคี้ยวมากลุ่มละ 2 ชนิด เพื่อสังเกตพลังงานและปริมาณแคลอรี่และนำไปเปรียบเทียวกับขนมไทย(ข้าวต้มมัด  ขนมตาล ข้าวเหนียวมะม่วง) 

- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน

- นิทานช่องพลังงานและปริมาณแคลอรี่ในอาหาร

- ประกอบอาหารจากกล้วย( ทอด  ปิ้ง  ต้ม)

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอภัยจากการกิน
 ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนพูดคุยทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
- สามารถเลือกประกอบอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการได้อย่างเหมาะสมกับที่ร่างกายต้องการ
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  คิดเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้และการดำรงชีวิตผ่านการลงมือประกอบอาหาร
- มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
- ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
- สร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- นำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
-  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
7
โจทย์   น้ำสต๊อก
คำถาม
- ถ้าไม่ใช้เครื่องปรุงรสสังเคราะห์นักเรียนจะทำอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับ
- Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเพื่อทำการทดสอบดังนี้

- ผงชูรส  รสดี  คนอร์  ซอส  น้ำปลา โดยวิธีการนำเครื่องปรุงมาลนไฟและสังเกตการเปลี่ยนแปลง

- ทำน้ำสต๊อก

- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ชิ้นงาน
- น้ำสต๊อก
 ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนพูดคุยทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
 ความรู้
- เข้าใจและสามรถเลือกใช้วัสถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาประกอบอาหารอย่างปลอดภัยจากสารปนเปื้อนได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- เลือกสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนอย่างเหมาะสม
- มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
- ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
- สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
8
โจทย์  ลูกชิ้น  ไส้กรอก  หมูยอ  หมูปิ้ง
คำถาม
- นักเรียนจะมีวิธีการถนอมอาหารให้อยู่นานได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับ
- Show and Share นำเสนอ
 สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน

ดูคลิปวีดีโอก่อมะเร็ง เลิกกิน แฮม ไส้กรอก เบคอน แหนมเนือง กุนเชียง ไนไตรท์ เมนูอาหาร

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอก่อมะเร็ง เลิกกิน แฮม ไส้กรอก เบคอน แหนมเนือง กุนเชียง ไนไตรท์ เมนูอาหาร

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มทดสอบทำไส้กรอก  ลูกชิ้นด้วยตนเอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอก่อมะเร็ง เลิกกิน แฮม ไส้กรอก เบคอน แหนมเนือง กุนเชียง ไนไตรท์ เมนูอาหาร

- ทำไส้กรอก  ลูกชิ้น
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนพูดคุยทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้

ความรู้
เข้าใจและสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนรวมทั้งสามารถอธิบายวิธีการถนอมอาหารได้อย่างปลอดภัยต่อตนเองและผู้อื่น
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- สามารถอธิบายการใช้อุปกรณ์ในการสร้างชิ้นงานได้
- สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
- สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- สามารถมองเห็นข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลาย
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
9
โจทย์    เผยแพร่องค์ความรู้
คำถาม
นักเรียนจะนำเสนอเผยแพร่เกี่ยวกับอาหารไม่ปลอดภัยให้ผู้อื่นเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้อาหารขยะให้ผู้อื่นเรียนรู้ร่วม
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานในรูปแบบที่น่าสนใจ (ชาร์ต ,ภาพวาด ,นิทานช่อง)
สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มเพื่อนำเสนอความจริงเกี่ยวกับอาหารขยะมาจัดทำในรูปแบบที่น่าสนใจ (ชาร์ต ,ภาพวาด ,นิทานช่อง)และนำเสนอให้ครูเพื่อนและน้องๆได้รับฟัง
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลอง
- ครูและนักเรียนทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ชาร์ต ,ภาพวาด ,นิทานช่อง
สรุปการเรียนรู้ราย
สัปดาห์
ภาระงาน
พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการออกแบบนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้อาหารที่ไม่ปลอดภัย
ความรู้
- เข้าใจและสามารถสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในแบบต่างๆให้กับผู้อื่น
ทักษะ
ทักษะชีวิต
 -  ทักษะการทำงานกลุ่ม สามารถปรับตัวในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นที่มีความแตกต่างจากตนได้อย่างมีความสุข
- มีเป้าหมายและสามารถกำหนดเป้าหมายในการทำงานได้
- ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
- สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- สามรถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
- มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง
10
โจทย์  สรุปองค์ความรู้และเผยแพร่องค์ความรู้
คำถาม
นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ โครงงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
-  นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarterนี้

เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งหมดตลอดQuarter นี้
- Card and Chart  สิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
 สื่อ/อุปกรณ์
บรรยากาศในห้องเรียน
- เพลงนิทานหิ่งห้อย
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-  วางแผนการนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจ
นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
-ระดมความคิดเขียน  สิ่งที่ทำได้ดี และ สิ่งที่ควรปรับปรุง เกี่ยวกับการเรียนโครงงาน
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านการจัดนิทรรศการหนังสือนิทาน ให้เพื่อนๆ น้องๆได้ชม
แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ชิ้นงาน
- Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-  หนังสือนิทานภูมิภาคของประเทศไทย
สรุปการเรียนรู้ราย
สัปดาห์
 ภาระงาน
เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรปรับปรุง
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านนิทานและละคร
เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ความรู้
- สรุปสิ่งที่ตนเองเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผล น่าสนใจ รวมทั้งสามารถประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
มีวิธีการวางแผนการแก้ไขปัญหาจากการทำงานและปฏิบัติได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะการจัดลำดับข้อมูล
- มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีที่หลากหลาย
- มีวิธีการในการศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆได้อย่างครอบคลุม
- นำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะการสื่อสาร
- นำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆ
ทักษะการคิด
- คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นมีขั้นตอน
- มีความสนในและสามารถวางแผนการเรียนรู้ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยการยอมรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลายและแตกต่าง ของเพื่อนๆ
คุณลักษณะ
-  เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
-  มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว  ชุมชน  และสังคม
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น
         - มีเป้าหมายที่ดีงามต่อตนเอง




สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL
Topic : ผจญภัยไปกับการทดลองอาหาร” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2557
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
ผักมีประโยชน์ต่อร่างกาย
ในถั่วเหลืองมีโปรตีน
ในน้ำส้มสายชูมีกรดเยอะ
กินอาหารที่มีรสหวานมากๆจะทำให้เป็นโรคอ้วน
ในน้ำอัดลมมีน้ำตาลเยอะ
เยลลี่ทำมาจากกระดูกสัตว์
ปลูกผักกินเองปลอดภัย
ผักและผลไม้มีวิตามินและเกลือแร่
ในลูกชิ้นมีสีผสมอาหาร
ขนมขบเคี้ยวมีผงชูรส
กินกาแฟเยอะทำให้นอนไม่หลับ
- ขนมปังทำมาจากแป้งและข้าว
- ในเนื้อหมูมีสารเร่งเนื้อแดง
- กินขนมหวานเยอะทำให้ฟันผุ
- กินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายจะทำให้แข็งแรง
- อยากรู้ว่าสารกันบูดทำมาจากอะไรและทำไมถึงใส่สารกันบูด
ทำไมลูกชิ้นถึงเด้งดึ้ง
ทำไมผงชูรสถึงทำให้กระดูกผุ
ในน้ำอัดลมประกอบไปด้วยอะไร
- ทำไมนมเปรี้ยวถึงมีน้ำตาลเยอะ
ไอศกรีมทำมาจากอะไร
ในมาม่ามีส่วนผสมอะไรบ้าง
- ทำไมกินกาแฟถึงนอนไม่หลับ
น้ำผลไม้ 100%  มีส่วนผสมอะไรบ้าง
สารแต่งกลิ่นทำมาจากอะไร
- สารปนเปื้อนในอาหารมีอะไรบ้าง
- ทำไมกินขนมหวานเยอะๆทำให้อ้วน
- ในน้ำส้มสายชูประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
- ลูกชิ้นทำมาจากอะไร
ทำไมต้องฉีดสารเร่งโตในสัตว์


ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง : “ผจญภัยไปกับการทดลอง” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2/2557

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
บทบาทหน้าที่และพลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
สร้างฉันทะ/สร้างแรงบันดาลใจ
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว  
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน
มาตรฐาน 1.2
อธิบายลักษณะของสิ่งที่พบเห็นจากการดูคลิปวีดีโอ และสิ่งต่างๆรอบตัว
(
1.2 .3/1)
มาตรฐาน ว 2.1  
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  (ว 2.1.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
- สำรวจทรัพยากรธรรม
ชาติและอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น(ว 2.2.3/1)
-ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น (ว 2.2.3/2)
-อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติอย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ (ว 2.2.3/3)
มาตรฐาน 6.1
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับการทดลอง(6.1 3/1)
มาตรฐาน 8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และความสนใจของตนเองได้
( 8.1 .3/1)
-วางแผนสร้างกิจกรรมการเรียนรู้รายสัปดาห์ตามสิ่งที่อยากเรียนรู้
(8.1 .3/2)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ตามความเป็นจริง (8.1ป.3/4)
- สร้างคำถามใหม่และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลอง
 (8.1ป.3/5-6)

มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่นระหว่างการทำงานปฏิบัติตนเป็นแบอย่างที่ดีและทำงานกับผู้อื่นอย่างสันติ(ส1.1 3/3)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อผู้อื่น  มีมารยาทและเคารพต่อผู้อื่น(ส1.2 3/1)
มาตรฐาน ส 5.1
บอกความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน
(ส5.1 ป3/3)
มาตรฐาน  ส 5.2  
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
(ส 5.2.3/1)

มาตรฐาน  ส 2.1  
บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย 
(ส 2.1.3/2)
มาตรฐาน 2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกกลุ่มในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง( 2.2 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1  1.1 .3/1)

มาตรฐาน 4.2 
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพ แวดล้อมจากอดีตถึงปัจจุบัน ( 4.2 .3/3)
มาตรฐาน  4.2
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนพร้อมกับสรุปและเปรียบเทียบความ สำคัญของขนบธรรม เนียมประเพณีของชุมชนตนเองและชุมชนอื่นๆได้(ส 4.2.3/1-3)


มาตรฐาน 1.1
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.1
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์( 2.1 .3/1)

มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งที่พบเห็นได้( 1.1 .3/6)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้น  รูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1/3/6/8)

มาตรฐาน 3.1
จัดรูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กำหนด 
( 3.1 .5/1)
มาตรฐาน 5.1
วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจ และสังคม
( 5.1 .3/3)

  
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
บทบาทหน้าที่และพลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
คุณสมบัติของน้ำอัดลม
- การกัดกร่อน
- ก๊าซ
- การตกตะกอน




















มาตรฐาน ว 2.1  
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
(ว 2.1.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติและอภิปรายการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติในท้องถิ่น
(ว 2.2.3/1)
มาตรฐาน 3.1
จำแนกชนิดสมบัติของน้ำอัดลมและส่วนประกอบของน้ำอัดลม ( 3.1.3/1)
มาตรฐาน 3.2
- อธิบายอันตรายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการทดลอง
(3.2 .3/2)
- วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป(3.2 .6/2)
มาตรฐาน 6.1
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายคุณสมบัติของน้ำอัดลม  
(6.1 .3/2)
- ทดลองอธิบายการกัดกร่อน
การเกิดก๊าซ
การตกตะกอนของน้ำอัดลม
 (ว 6.1.3/1-3)
มาตรฐาน  ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับการทดลอง
 (8.1ป.3/1)
- วางแผนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง กลุ่ม และสามารถคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการทดลองได้
 (8.1ป.3/2)
-  เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสมในการทดลอง และบันทึกผล (8.1ป.3/3)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ตามความเป็นจริง (8.1ป.3/4)
- สร้างคำถามใหม่และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลอง
 (8.1ป.3/5-6)

มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่นระหว่างการทำงานปฏิบัติตนเป็นแบอย่างที่ดีและทำงานกับผู้อื่นอย่างสันติ(ส1.1 3/3)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อผู้อื่น  มีมารยาทและเคารพต่อผู้อื่น(ส1.2 3/1)
มาตรฐาน ส 5.1
-บอกความสัมพันธ์ของลักษณะกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน(ส 5.1.3/1-3)
-อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์
(ส 5.2.3/3)
- อธิบายความแตกต่างของเมืองและชนบท (ส 5.2.3/4)
- ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน  (ส 5.2.3/5)


มาตรฐาน 2.1
เข้าใจบทบาทหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพของตนเอง และผู้อื่นในการทำกิจกรรม หรือดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับสังคม ตามหลักศาสนาวัฒนธรรมและความเชื่อ
( 2.1 .3/2)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1  1.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตนตามกฎ  ระเบียบ  และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3  3.1 .3/1)


มาตรฐาน 4.2
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
( 4.2 .3/3)
มาตรฐาน 1.1
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวมเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ทำงานอย่างเป็นระบบขั้นตอน
( 1.1 .3/1/2/3)
มาตรฐาน  ง 2.1
 เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ง 2.1.3/1)
มาตรฐาน 3.1
ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอน นำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆได้
( 3.1 .3/1)


มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/6)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)
มาตรฐาน 4.1
เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพโดยการเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อการทำงาน
( 4.1 .3/5)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
บทบาทหน้าที่และพลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา













มาตรฐาน  8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับการทดลอง
( 8.1.3/1)
- วางแผนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง กลุ่ม และสามารถคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบได้
( 8.1.3/2)
- เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจ และบันทึกผลการทดลอง
( 8.1.3/3)
มาตรฐาน 1.1
ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิต ข้อคิด จากเรื่องเล่า ได้อย่างเหมาะสม ( 1.1 .3/3)
มาตรฐาน 5.1
บอกความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชนต่อปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้  ( 5.1  .3/3)
มาตรฐาน  2.1
สรุปประโยชน์และการปฏิบัติตนตามประเพณีท้อง ความเชื่อเกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาลอย่างเหมาะสม (2.1.3/1)
มาตรฐาน 2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆ
(
2.2 .3 /1)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1  1.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตนตามกฎ  ระเบียบ  และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3  3.1 .3/1)


มาตรฐาน 4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์จากอดีตถึงปัจจุบันได้
( 4.2 .3/1)
มาตรฐาน 1.1
 ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาดและสามารถอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองได้  (1.1 3/3)
มาตรฐาน  2.1
 มีทักษะกระบวนการทำงานและการจัดการ การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
( 2.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่น่าสน ใจเป็นประโยชน์จากแหล่ง ข้อ มูลต่างๆตรงตามวัตถุประสงค์
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
( 3.1 .5/1/2)
มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/2)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/4)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
มาตรฐาน 1.1
- อธิบายลักษณะการเจริญเติบโตของมนุษย์ที่เชื่อมโยงจากการกำเนิดสิ่งมีชีวิตบนโลก ( 1.1 .3/1)
- รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างก่ายได้ ( 1.1 .4/1/2/3)
มาตรฐาน  2.1
อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและกลุ่มเพื่อน
( 2.1  .3/1/2)
มาตรฐาน  3.1
ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่การใช้อุปกรณ์อย่างมีทิศทางในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ( 3.1 .3/1)
มาตรฐาน  4.1
รู้และเข้าใจการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันโรคจากการมองดูดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่า และโรคที่อาจเกิดจากแสงอาทิตย์         ( 4.1 .6/1)
มาตรฐาน    5.1
ปฏิบัติตนเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากการเดินทางจากบ้าน โรงเรียน ( 5.1  .3/1)
  
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
บทบาทหน้าที่และพลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
การทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร


















มาตรฐาน ว 2.1  
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
(ว 2.1.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติและอภิปรายการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติในท้องถิ่น
(ว 2.2.3/1)
มาตรฐาน 3.1
จำแนกการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 ( 3.1.3/1)
มาตรฐาน 3.2
อธิบายอันตรายที่เกิดขึ้นจากกินอาหารที่มีแป้ง  น้ำตาล
 (3.2 .3/1,2)
มาตรฐาน 4.1
อธิบายเกี่ยวกับการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 ( 4.1 .3/2)
มาตรฐาน 6.1
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 (6.1 .3/2)
- ทดลองอธิบายการการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 (ว 6.1.3/1-3)
มาตรฐาน  ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 (8.1ป.3/1)
- วางแผนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง กลุ่ม และสามารถคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการทดลองได้
 (8.1ป.3/2)
-  เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสมในการทดลอง และบันทึกผล (8.1ป.3/3)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ตามความเป็นจริง (8.1ป.3/4)
- สร้างคำถามใหม่และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลอง
 (8.1ป.3/5-6)

มาตรฐาน  5.1
รู้และเข้าใจองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ การสร้างการใช้แผนผัง แผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เพื่อหาข้อมูลในพื้นที่รอบตัว
 ( 5.1 .3/1/2)
มาตรฐาน 5.2
- เข้าใจความสำคัญและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรมและทรัพยากรธรรม
ชาติในชุมชน
( 5.2 .3/1)
- เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 
( 5.2 .3/2)
- เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง
มาตรฐาน  2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย
( 2.2 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1  1.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตนตามกฎ  ระเบียบ  และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3  3.1 .3/1)

มาตรฐาน  4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์จากอดีตถึงปัจจุบันได้
( 4.2 .3/1)


มาตรฐาน  1.1
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการ อธิบายวิธีการและประโยชน์จากการทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  2.1
มีทักษะกระบวนการทำงานและการจัดการ การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
( 2.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจ เป็นประโยชน์ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ตรงตามวัตถุประสงค์
( 3.1 .5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
( 3.1 .5/1/2)


มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีชิ้งานเกี่ยวกับเรื่องลักษณะทางกายภาพของโลกได้( 1.1 .3/2)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างชิ้นงานได้
( 1.1 .3/4)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/1,6)

มาตรฐาน  1.1
 รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างก่ายได้
 ( 1.1 .4/1/2/3)
มาตรฐาน  2.1
อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและกลุ่มเพื่อน
( 2.1  .3/1/2)
มาตรฐาน  4.1
รู้และเข้าใจการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันโรคจากการมองดูดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่า และโรคที่อาจเกิดจากแสงอาทิตย์ 
( 4.1  .6/1)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
บทบาทหน้าที่และพลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
สารปนเปื้อนในอาหาร
- สารกันเชื้อรา
- สารบอแร็กช์
- สารฟอกขาว
- สารเร่งเนื้อแดง



















มาตรฐาน  8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่อง ที่จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ( 8.1 .3/1)
- วางแผน  การสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจ ตรวจสอบ( 8.1 .3/2)
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม
ในการสำรวจตรวจสอบ
 และบันทึกข้อมูล
( 8.1 .3/3)
- จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้และนำเสนอผลการทดลอง( 8.1 .3/4)

มาตรฐาน
  3.1
เข้าใจและสามารถจำแนกความจำเป็นในการใช้ทรัพยากร(การประกอบอาหาร)ในการเข้าค่ายดูดาวใช้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด (ส 3.1 .3/1)
มาตรฐาน
  5.1
ใช้ภาพถ่ายแผนที่แผนผังในการหาข้อมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ในการสำรวจดวงดาวได้เหมาะสม ( 5.1 .3/1)

มาตรฐาน 2.1
สรุปประโยชน์และการปฏิบัติตนตามประเพณีท้อง ความเชื่อเกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะจักรวาลอย่างเหมาะสม
( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน  2.2
- ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆ(ส 2.2 .3/1)
- วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการตัดสินใจฝนชั้นเรียน โดยวิธีการออกเสียง หรือเลือกตัวแทน
(ส 2.2 .3/1)
- ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
( 2.2  .3 /1/2/3)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1  1.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตนตามกฎ  ระเบียบ  และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3  3.1 .3/1)

มาตรฐาน 4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์ นำมาซึ่งการคิดค้นประดิษฐ์และเรียนรู้เกี่ยวกับแรงการเคลื่อนที่ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ( 4.2 .3/1)

มาตรฐาน 1.1
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาดและสามารถอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองได้
อธิบายวิธีการและประโยชน์จากการทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/2/3)
- อธิบายเหตุผลการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
ปฏิบัติตนอย่า
มีมารยาทในกรทำงาน
ใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัดและมีคุณค่า
( 1.1 .4/1/3/4)
มาตรฐาน  2.1
 มีทักษะกระบวนการทำงานและการจัดการ การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
( 2.1 .3/2/3)
มาตรฐาน 3.1
บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่ใกล้ตัว ( 3.1 .1/1)
ใช้ความรู้ ภูมิปัญญาของท้องถิ่นนับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ใช้จินตนาการ และความคิดอย่างมีระบบในการออกแบบสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ( 3.1 .3/2)

มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีชิ้นงานเกี่ยวกับเรื่องลักษณะทางกายภาพของโลกได้
( 1.1 .3/2)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างชิ้นงานได้ ( 1.1 .3/4)
วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/1,6)

มาตรฐาน 1.1
รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างก่ายได้ ( 1.1 .4/1/2/3)
- อธิบายลักษณะการเจริญเติบโตของมนุษย์ที่เชื่อมโยงจากการกำเนิดสิ่งมีชีวิตบนโลก
( 1.1  .3/1)
มาตรฐาน  2.1
อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและกลุ่มเพื่อน
( 2.1  .3/1/2)
มาตรฐาน 4.1
รู้และเข้าใจการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันโรคจากการมองดูดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่า และโรคที่อาจเกิดจากแสงอาทิตย์ 
( 4.1.6/1)
มาตรฐาน  5.1
ปฏิบัติตนเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากการเดินทางจากบ้าน โรงเรียน
( 5.1 .3/1)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
บทบาทหน้าที่และพลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
คุณค่าอาหาร
- การเลือกรับประทานอาหาร
- การถนอมอาหาร

















มาตรฐาน ว 2.1  
สำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
(ว 2.1.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติและอภิปรายการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติในท้องถิ่น
(ว 2.2.3/1)
มาตรฐาน 3.1
สำรวจและจำแนกประเภทของสารต่างๆที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 ( 3.1.5/4)
มาตรฐาน 3.2
อธิบายอันตรายที่เกิดขึ้นจากกินอาหารที่มีแป้ง  น้ำตาล
 (3.2 .3/1,2)
มาตรฐาน 6.1
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 (6.1 .3/2)
ทดลองอธิบายการการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 (ว 6.1.3/1-3)
มาตรฐาน  ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับการทดลองแป้ง  น้ำตาล  ความเป็นกรด-เบสของอาหาร
 (8.1ป.3/1)
วางแผนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง กลุ่ม และสามารถคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการทดลองได้
 (8.1ป.3/2)
-  เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสมในการทดลอง และบันทึกผล (8.1ป.3/3)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ตามความเป็นจริง (8.1ป.3/4)
- สร้างคำถามใหม่และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลอง
 (8.1ป.3/5-6)
มาตรฐาน  8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา
( 8.1.3/1)
วางแผนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง กลุ่ม และสามารถคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบได้
( 8.1.3/2)
เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจ และบันทึกผลการทดลอง
( 8.1.3/3)

มาตรฐาน  5.1
รู้และเข้าใจองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ การสร้างการใช้แผนผัง แผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เพื่อหาข้อมูลในพื้นที่รอบตัว
เขียนแผนผังง่ายๆเพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน
( 5.1 .3/1/2)
มาตรฐาน 5.2
- เข้าใจความสำคัญและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรมและทรัพยากรธรรม
ชาติในชุมชน
( 5.2 .3/1)
- เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 
( 5.2 .3/2)
- เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง
มาตรฐาน  2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย
( 2.2 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1  1.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตนตามกฎ  ระเบียบ  และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3  3.1 .3/1)

มาตรฐาน  4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์จากอดีตถึงปัจจุบันได้
( 4.2 .3/1)


มาตรฐาน  1.1
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการ อธิบายวิธีการและประโยชน์จากการทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม
( 1.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  2.1
มีทักษะกระบวนการทำงานและการจัดการ การทำงานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
( 2.1 .3/2/3)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจ เป็นประโยชน์ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ตรงตามวัตถุประสงค์
( 3.1 .5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
( 3.1 .5/1/2)


มาตรฐาน 1.1
บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้
( 1.1 .3/1 )
วาดภาพระบายสีชิ้งานเกี่ยวกับเรื่องลักษณะทางกายภาพของโลกได้( 1.1 .3/2)
ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างชิ้นงานได้
( 1.1 .3/4)
วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/1,6)

มาตรฐาน  1.1
 รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างก่ายได้
 ( 1.1 .4/1/2/3)
มาตรฐาน  2.1
อธิบายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและกลุ่มเพื่อน
( 2.1  .3/1/2)
มาตรฐาน  4.1
รู้และเข้าใจการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันโรคจากการมองดูดวงอาทิตย์ด้วยตาเปล่า และโรคที่อาจเกิดจากแสงอาทิตย์ 
( 4.1  .6/1)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
บทบาทหน้าที่และพลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
เผยแพร่และสรุปองค์ความรู้





















มาตรฐาน  8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่อง ที่
จะศึกษา ตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ( 8.1 .3/1)
วางแผน  การสังเกต เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจ ตรวจสอบ
( 8.1 .3/2)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม
ในการสำรวจตรวจสอบ
 และบันทึกข้อมูล
( 8.1 .3/3)
- จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้และนำเสนอผล
( 8.1 .3/4)
- แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนำไปสู่การสร้างความรู้ ( 8.1 .3/6)
- บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจตรวจสอบตามความเป็นจริงมีแผนภาพประกอบคำอธิบาย
( 8.1 .3/7)
- นำเสนอ จัดแสดงผลงาน
โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ  ( 8.1 .3/8)
มาตรฐาน 1.1
- ข้าใจความสำคัญ ความแตกต่างด้านความเชื่อของแต่ละภูมิภาคและสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตได้
( 1.1 .3/1)
- ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตตามข้อคิดจาก เรื่องเล่า ตำนาน ในท้องถิ่นได้ ( 1.1 .3/4)
- สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างภารดรภาพและยอมรับความแตกต่างทางประเพณี วัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาครวมทั้งเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่นได้ ( 5.1 .4/7)
มาตรฐาน 5.1
ใช้แผนที่ แผนผัง  และภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( 5.1 .3/1)
เขียนแผนผังง่ายๆ เพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน  ( 5.1 .3/2)
บอกความสัมพันธ์ของลักษณะกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน 
( 5.1 .3/1-3)



มาตรฐาน 
2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย
( 2.2 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
(จุดเน้นที่ 1  1.1 .3/1)
จุดเน้นที่ 1
เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น(จุดเน้นที่ 2 1.2 .3/3)
จุดเน้นที่ 3
ปฏิบัติตนตามกฎ  ระเบียบ  และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3  3.1 .3/1)

มาตรฐาน  4.2
สรุปปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อชีวิตของมนุษย์จากอดีตถึงปัจจุบันได้
( 4.2 .3/1)

มาตรฐาน  1.1
- อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม(1.1 .3/1)
- ใช้วัสดุ  อุปกรณ์  และเครื่องมือ ตรงกับลักษณะงาน ( 1.1 .3/2)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวน การทำงานด้วยความสะอาดความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
( 1.1 .3/3)
มาตรฐาน  2.1
เลือกใช้สิ่งของเครื่อง ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
( 2.1 .3/1)
มาตรฐาน  4.1
สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวกับอาชีพต่าง ในชุมชน  บอกถึงความแตกต่างและตัดสินใจเลือกอาชีพที่ตนเองชื่นชอบได้ 
( 4.1 .3/1)
มาตรฐาน 2.1 
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
( 4.1 .3/3)

มาตรฐาน 1.1
- บรรยายรูปร่างรูปทรงสิ่งต่างๆที่พบเห็นได้ 
( 1.1 .3/1 )
- วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัวได้
( 1.1 .3/6)
- วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้นรูปร่าง รูปทรง สี ได้
( 1.1 .3/6)
- ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
( 1.1 .3/1 /3/6/8)

มาตรฐาน 5.1
วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย  จิตใจ  และสังคม
( 5.1 .3/3)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น